
อาจารย์ ดร.พลากร บุญใส
คณะวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ
bpalakorn@tsu.ac.th
คำอธิบายรายวิชา
การสร้างแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการ (Inspiration Entrepreneurial Mindset) ความเป็นไปได้ของธุรกิจ แผนธุรกิจที่ Startup ควรดำเนินการ ความสำคัญของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) วิธีเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย (Empathy) การระบุประเด็นปัญหา (Define) การระดมความคิด (Ideate) การสร้างต้นแบบ (Prototype) การทดสอบ (Test) และ การนำกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ไปต่อยอด
วัตถุประสงค์ของวิชา
LO1: เกิดแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการ
LO2:มีทักษะในกระบวนกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
LO3:เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย (Empathy) ผ่านกระบวนการบุประเด็นปัญหา (Define) การระดมความคิด (Ideate) การสร้างต้นแบบ (Prototype) และ การทดสอบ (Test)
LO4:นำกระบวนกระบวนการคิดเชิงออกแบบไปต่อยอดสู่ความเป็นผู้ประกอบการ
เนื้อหา
บทที่ 1 Inspiration Entrepreneurial Mindset
บทที่ 2 ความสำคัญของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
บทที่ 3 ทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย (Empathy)
บทที่ 4 ระบุประเด็นปัญหา (Define)
บทที่ 5 การระดมความคิด (Ideate)
บทที่ 6 การสร้างต้นแบบ (Prototype)
บทที่ 7 การทดสอบ (Test)
บทที่ 8 การนำ Design Thinking ไปต่อยอด
กลุ่มผู้เรียนเป้าหมาย
• ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็ก
• นิสิตในมหาวิทยาลัยทักษิณ
ประมาณการจำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย...............100............................................คน
การประเมินผล
• แบบทดสอบก่อนเรียน 0%
• แบบทดสอบระหว่างเรียนทุกบท 60%
• กิจกรรม Discussion (ระบบให้คะแนนไม่ได้)
• แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam) 40%
ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้
อาจารย์ผู้สอนและคณะทำงาน
คณะวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ
bpalakorn@tsu.ac.th
นายอานนท์ เทพทอง
ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายกิจการพิเศษและสื่อสารองค์กร
อุทยานวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยทักษิณ
อีเมล์: katatep7890@gmail.com
นางสาวสุกัลยา สังข์ทอง
ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการนวัตกรรมรุ่นใหม่
อุทยานวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมสังคมมหาวิทยาลัยทักษิณ
อีเมล์: sukanya.envi@gmail.com
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนา 55 รายวิชา คอร์สออนไลน์หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉลองครบรอบ 55 ปี มหาวิทยาลัยทักษิณ และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”