
แนวคิดการสมานโซ่อุปทาน ความสามารถในการแข่งขันของโซ่คุณค่า การตอบสนองอย่างรวดเร็ว การประสานงานระหว่างผู้ผลิตและผู้จัดจำหน่าย การจัดการโซ่อุปทาน บทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัลในการสมานโซ่อุปทาน การจัดซื้อโลจิสติกส์ โลจิสติกส์ย้อนกลับ การปรับปรุงโซ่อุปทานให้ดีที่สุด การเชื่อมโยงกลยุทธ์โซ่อุปทานให้เข้ากับกลยุทธ์รวมของธุรกิจ

LO1: อธิบายภาพรวมการบริหารโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้อย่างถูกต้อง
LO2: สามารถเข้าใจลักษณะเฉพาะของธุรกิจและโมเดลธุรกิจในอุตสาหกรรมนั้นๆ ได้หรือไม่
LO3: สามารถเข้าใจ SWOT Analysis และ5 Forces Model ได้หรือไม่
LO4: สามารถเข้าใจบทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัลในการสมานโซ่อุปทาน
เนื้อหา
บทนำ : แนะนำวิชา
บทที่ 1 : การสมานโซ่อุปทาน ความสามารถในการแข่งขันของโซ่คุณค่า
บทที่ 2 : ลักษณะเฉพาะของธุรกิจและโมเดลธุรกิจในอุตสาหกรรม
บทที่ 3 : การวิเคราะห์ 5-forces model and SWOT Analysis ในธุรกิจ
บทที่ 4 : บทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัลในการสมานโซ่อุปทาน
บทที่ 5 : การจัดซื้อโลจิสติกส์ และโลจิสติกส์ย้อนกลับ
บทที่ 6 : การนำเข้าส่งออกสำหรับผู้ประกอบการโลจิสติกส์
บทที่ 7 : การเชื่อมโยงกลยุทธ์โซ่อุปทานให้เข้ากับกลยุทธ์รวมของธุรกิจ

ผู้เรียนมีทักษะการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ หูฟัง สำหรับการเรียนรู้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ เท็ปเล็ต หรือ โทรศัพท์ไร้สาย ภายใต้การเชื่อมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ต

การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนโดยการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด และมีผลการสอบหลังเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และได้รับใบประกาศนียบัตรสำเร็จรายวิชา
คณะทำงาน
![]() |
อาจารย์ดนวัต สีพุธสุข ผู้ประสานงานประจำวิชา วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ |
|
![]() |
นางสาวพิชญา จินดามณี คณะทำงาน สถาบันทรัพยากรการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ |
|
![]() |
นายสุวรรณ โชติการ คณะทำงาน สถาบันทรัพยากรการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ |
|
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพกำลังคนมหาวิทยาลัยทักษิณ (TSU Manpower Development Academy : TSU-MA) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BB NC SA”